|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สถิติผู้เข้าชม
|
ขณะนี้มีผู้เข้าใช้
|
9
|
ผู้เข้าชมในวันนี้
|
830
|
ผู้เข้าชมทั้งหมด
|
5,433,444
|
|
|
|
|
23 พฤศจิกายน 2567
|
อา |
จ. |
อ. |
พ. |
พฤ |
ศ. |
ส. |
| | | | |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
10 |
11 |
12 |
13 |
14 |
15 |
16 |
17 |
18 |
19 |
20 |
21 |
22 |
23 |
24 |
25 |
26 |
27 |
28 |
29 |
30 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ต้นสาคู
[1 ธันวาคม 2554 14:18 น.]จำนวนผู้เข้าชม 8567 คน |
|
ต้นสาคู
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Metroxylon sagu Rottb.
ชื่ออื่น : สากู (มลายู - ใต้)
สาคูดเป็นพืชที่มีอายุอยู่ได้หลายฤดูฝน ลักษณะใบคล้ายใบคล้า ต้นคล้ายต้นขิง ต้นสูง 60 - 140 ซม. ขึ้นอยู่เป็นกอ หัวเล็กยาว แผ่กว้างลึก อีกชนิดหนึ่งต้นและใบคล้ายพุทธรักษา หัวสั้นใหญ่ มีหัวน้อยอยู่ไม่ลึก
ลักษณะทางพฤษศาสตร์
สาคูมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Maranta arundinacea L.) อยู่ในตระกูลแมรันเตซี (Marantaceae) เป็นพืชเนื้ออ่อนมีอายุอยู่ได้ปลายฤดู มีหัวซึ่งเกิดจากลำต้นใต้ดินโดยหัวขยายตัวอยู่ใต้ระดับดิน หัวใหญ่ กลม ยาว ขนาดของหัว 2.5 ซม. ยาว 20 - 45 ซม. ใบเป็นชนิดแลนซิโอเลต (lanceolate) เหมือนใบคล้าดอกสีขาว เป็นช่อแฝด เมล็ดสีแดงแต่ไม่ค่อยติดเมล็ด แหล่งที่ปลูกสาคูมากได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เช่น จังหวัดนครราชสีมา ขอนแก่น เป็นต้น แบ่งตามลักษระหัวมีอยู่ 2 ชนิด ชนิดหัวเล็กยาว แผ่กว้างและหยั่งลงในดินลึกเรียก "เครโอล" (creole) ชนิดหัวสั้น ใหญ่ หัวไม่มาก หัวอยู่ไม่ลึก เรียกแบนานา (banana)
ประโยชน์ของสาคู
แป้งสาคูนับเป็นคาร์โบไฮเดรตที่บริสุทธิ์ที่สุดในบรรดาคาร์โบไฮเดรตที่ได้จากธรรมชาติและมีความเหนียวสูงสุด ส่วนใหญ่ใช้หัวทำแป้ง ซึ่งเป็นแป้งที่ย่อยง่ายมาก ส่งออกสู่ตลาดเป็นแป้งผลสีขาว เรียก "แป้งสาคู" นิยมใช้เป็นอาหารทารก และทำอาหารอย่างอื่น เช่น ขนมปัง ขนมต่าง ๆ แพทย์ให้คนป่วยด้วยโรคลำไส้รับประทานแป้งสาคู นอกจากนี้เราใช้แป้งสาคูทำ "ผงแบเรียม" (barium meals) และใช้ในอุตสาหกรรมยา ทำแป้งผัดหน้า ทำกาวและทำกระดาษที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ หัวสาคูใช้เป็นอาหาร การที่เหลือจากการทำแป้งแล้วใช้เป็นอาหารสัตว์และทำปุ๋ย คนไทยต้มหรือนึ่งสาคูรับประทานเป็นของหวาน แต่ปริมาณสาคูที่ใช้เป็นของหวานมีไม่มากนัก
ที่มา : www.vegetweb.com |
|
|
|