|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สถิติผู้เข้าชม
|
ขณะนี้มีผู้เข้าใช้
|
3
|
ผู้เข้าชมในวันนี้
|
5
|
ผู้เข้าชมทั้งหมด
|
5,476,696
|
|
|
|
|
27 ธันวาคม 2567
|
อา |
จ. |
อ. |
พ. |
พฤ |
ศ. |
ส. |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
10 |
11 |
12 |
13 |
14 |
15 |
16 |
17 |
18 |
19 |
20 |
21 |
22 |
23 |
24 |
25 |
26 |
27 |
28 |
29 |
30 |
31 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ผักเสี้ยน
[24 สิงหาคม 2554 10:53 น.]จำนวนผู้เข้าชม 6355 คน |
|
ผักเสี้ยน
ชื่ออื่น : ผักเสี้ยน ผักเสี้ยนขาว (ภาคกลาง) ผักส้มเสี้ยน (ภาคเหนือ)
ลักษณะ : เป็นไม้ล้มลุก อายุไม่เกิน 1 ปี สุงไม่เกิน 1 เมตร ลำต้นตั้งตรง ใบแตกเป็นช่อ ช่อละไม่เกิน 5 ใบ ใบย่อยรูปไข่กลับ ปลาบใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบหยักเป็นซี่ละเอียด ใบนุ่ม ดอกออกเรียวไปตามปลายกิ่งผล รูปทรงกระบอก ปลายบนล่างจะแหลม เมล็ดกลมแบน สีออกน้ำตาลอมดำ ผิวเมล็ดย่น
ส่วนที่ใช้ทำยา : ใช้ทั้งต้น ราก ใบ ดอก เมล็ด
สรรพคุณยาสมุนไพร : ใช้ทั้งต้นรักษาบรรเทาอาการพิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย รักษาอาการโลหิต ระดูเน่าเสีย ไช้เป็นยาขับฝีหนอง รากใช้เป็นยากระตุ้นแก้เลือดออกตามไรฟัน ต้มรับประทานลดไข้ เป็นยาบำรุงสำหรับสตรีที่ร่างกายผอมแห้ง ไม่สมบูรณ์ ใบแก้ปัสสาวะพิการ ขับเสมหะ ถูนวดบรรเทาอาการปวดเมื่อย พอกแก้ไขข้ออักเสบ เริม งูสวัด คั้นผสมน้ำมันหยอดหูบรรเทาอาการปวด ดอกใช้ฆ่าเชื้อโรค เมล็ดมีฤทธิ์ขับพยาธิ ผสมน้ำมันชะโลมศีรษะฆ่าเหา หรือบดชงดื่มขับเสมหะ ใบและเมล็ดช่วยทำให้อาเจียน
ที่มา : http://yathai.blogspot.com/2010/07/blog-post.html |
|
|
|